วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

1.4 สัดส่วน


สัดส่วน

          ในชีวิตประจำวัน นักเรียนจะเห็นว่าเราเกี่ยวข้องกับร้อยละอยู่เสมอ เช่น การซื้อขาย กำไรขาดทุน

การลดหรือการเพิ่มที่คิดเป็นร้อยละ การคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม ฯลฯ
             
      ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้

“เต้ยขายนาฬิกาเรือนหนึ่งได้กำไร 20%”

          ข้อความข้างต้น มีความหมายว่า ถ้าเต้ยซื้อนาฬิกามาในราคา 100 บาท เต้ยจะขายนาฬิกาเรือนนี้

ได้ในราคา 120  ทำให้ได้กำไร 20 บาท
ดังนั้น อัตราส่วนของกำไรต่อราคาซื้อ เป็น  หรือ  จะเห็นว่าเราสามารถเขียน ร้อยละ 20 หรือ 20% ในรูปของอัตราส่วนได้ เป็น  หรือ  

คำว่า ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณใดปริมาณหนึ่งต่อ 100 เช่น
              ร้อยละ 50 หรือ 50% เขียนแทนด้วย หรือ
              ร้อยละ 7 หรือ 7% เขียนแทนด้วย  หรือ

การเขียนอัตราส่วนใดให้อยู่ในรูปร้อยละ จะต้องเขียนด้วยอัตราส่วนนั้นให้อยู่ในรูปที่มีจำนวนหลังของ

อัตราส่วนเป็น 100 แล้วจะได้จำนวนแรกของอัตราส่วนเป็นค่าร้อยละที่ต้องการ เช่น

 


           การเขียนร้อยละให้เป็นอัตราส่วนทำได้โดยเขียนเป็นอัตราส่วนที่มีจำนวนแรกเป็นค่าของร้อยละ

และจำนวนหลังเป็น 100 ดังตัวอย่างต่อไปนี้

 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น